
Micro Full Moon
โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขอเชิญส่อง จันทรุปราคาเต็มดวง (พระจันทร์สีเลือด) วันที่ 28 กรกฎาคม 2561 เริ่มคลาดเวลา 01:35-05:05 น. (คืนวันที่ 27 กรกฎาคม 2561)และเป็นวันที่ดวงจันทร์มีขนาดเล็กที่สุด ที่เรียกว่า ไมโครฟลูมูน (Micro Full Moon) ซึ่งเป็นวันที่ดวงจันทร์ “เต็มดวงและโคจรอยู่ห่างจากโลกที่สุด” .
-
conjunction
วันพุธที่ 23 มกราคม 2019 เวลา 03:19 น. -
ส่องชมจันทร์ วันลอยกระทง ปี 2561
วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2018 เวลา 09:14 น. -
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ ๖๘ ปีการศึกษา ๒๕๖๑
วันศุกร์ที่ 13 กรกฏาคม 2018 เวลา 09:48 น. -
Micro Full Moon
วันศุกร์ที่ 06 กรกฏาคม 2018 เวลา 10:08 น. -
BLUE MOON2
วันอังคารที่ 09 มกราคม 2018 เวลา 08:09 น.


-
- การหาค่ามัธยฐาน (Median) ของข้อมูลที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่ (Ungrouped Data)
ให้เรียงข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุดไปหาข้อมูลที่มีค่ามากที่สุด หรือจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด แล้วหาคะแนนที่อยู่ในตำแหน่งกึ่งกลาง
ตัวอย่างที่ 6 จงหามัธยฐานของข้อมูลต่อไปนี้ 9, 5, 11, 16, 6, 10, 13, 14, 17,
วิธีทำ เรียงข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุดไปหาข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดคือ 3, 5, 6, 9, 10, 11, 13, 14, 16
Median จะอยู่ตำแหน่งที่
ดังนั้น ค่ามัธยฐานเท่ากับ 5
ตัวอย่างที่ 7 จงหามัธยฐานของข้อมูลต่อไปนี้
40, 35, 24, 28, 26, 29, 36, 31, 42, 20, 23, 32
วิธีทำ เรียงข้อมูลจากข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุดไปหาข้อมูลทีมีค่ามากที่สุดคือ 20, 23, 24, 26, 28, 29ล 31, 32, 35, 36, 40, 42, ซึ่ง n = 12
ตำแหน่งมัธยฐาน
ข้อมูลตำแหน่ง ที่ 6.5 อยู่ระหว่าง 29 กับ 31
มัธยฐานเท่ากับ
มัธยฐาน คือ
- การหาค่าของข้อมูลที่จัดหมวดหมู่ ( Grouped Data ) หรือคะแนนที่มีการแจกแจงความถี่ ทำได้ 2 วิธี
- การหาค่ามัธยฐาน (Median) ของข้อมูลที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่ (Ungrouped Data)
มัธยฐาน หมายถึง ค่ากึ่งกลางของข้อมูลชุดนั้น หรือค่าที่อยู่ในตำแหน่งกึ่งกลางของข้อมูลชุดนั้น เมื่อได้จัดเรียงค่าของข้อมูลจากน้อยที่สุดไปหามากที่สุดหรือจาหมากที่สุกไปหาน้อยที่สุด ค่ากึ่งกลางจะเป็นตัวแทนที่แสดงว่ามีข้อมูลที่มากกว่าและน้อนกว่านี้อยู่ 50 % ค่ามัธยฐานจะอยู่ตำแหน่ง
( N คือ จำนวนข้อมูล )
วิธีที่ 1 คำนวณจากสูตร
Mdn = มัธยฐาน ( Median )
L = ขีดจำกัดล่างที่แท้จริงของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
i = อันตรภาคชั้น
F = ความถี่สะสมชั้นที่อยู่ก่อนชั้นที่มีมัธยฐานไปหาคะแนนน้อย
f = ความถี่ของคะแนนในชั้นที่มีมัธยฐาน
= ตำแหน่งของมัธยฐาน
ตัวอย่างที่ 8 จากข้อมูลในตารางแจกแจงความถี่ จงหาค่ามัธยฐาน
คะแนน | ความถี่ (fi) |
5 – 9 10 – 14 15 – 19 20 – 24 25 – 29 30 – 34 35 – 39 40 – 44 | 3 4 3 5 6 4 2 3 |
N = 30 |
หาค่ามัธยฐานของข้อมูล
วิธีทำ
-
- หาความถี่สะสม
- หาตำแหน่งของมัธยฐาน
คะแนน | ความถี่(fi) | ความถี่สะสม (F) |
5 – 9 10 – 14 15 – 19 20 – 29 25 – 29 30 – 34 35 – 39 40 – 44 | 3 4 3 7 6 4 2 3 | 3 7 10 17 23 27 29 32 |
N = 32 |
สูตร
= 16 ค่ามัธยฐานที่อยู่ในชั้น 20 – 24
L = 19.5
I = 5
F = 13
f = 5
แทนค่า Mdn = =
= 23.7
ดังนั้น มัธยฐานคือ 23.7